การฟัง ไม่ใช่เพียงแต่ใช้หู เท่านั้น การเป็นผู้ฟังที่ดี ต้องใช้ที้งหู ตา ใจ สมอง ท่าทาง ของเรา เพื่อให้พร้อมสำหรับการฟัง การฝึกตัวเองให้มีสมาธิในการฟัง ทำได้โดยการใช้โสตประสาททั้งห้า ใน EP นี้ จะเริ่มต้นด้วยการฝึกฟังเสียงพูดของตัวเอง...
Ep 65 ได้ชวนคิด ถึง 5 ปัญหาการฟังที่มักพบในการสื่อสาร ใน EP นี้ จะเป็นตอนที่ 2 เพื่อสะท้อนปัญหาการฟังแบบอื่นๆ ที่มักพบในการสื่อสาร เพื่อที่เราเองจะได้เตือนสติตนเอง ระหว่างที่กำลังสื่อสารกับผู้อื่นอยู่ เพื่อจะได้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้ฟังที่ดีต่อไป...
อัตราการพูดเปล่งเสียงออกมากับอัตราการคิดในสมองของเราต่อนาทีจะมีความแตกต่างกัน ในบางครั้งเราจะขัดใจตนเองว่า พูดได้ไม่เท่าที่คิด หรือ บางคนอาจจะคิดอยู่ แต่เรียบเรียงออกมาเป็นคำพูดไม่ได้ นอกจากนี้ อัตราการพูดที่ช้าหรือเร็วสามารถสะท้อนถึงความคิด...
“คุณไม่เคยฟังอะไรเลย” “ฉันนี่หรือที่ไม่ฟัง คุณนั่นแหละที่ไม่เคยฟังใคร” ประโยคคำพูดทำนองนี้ มักเกิดขึ้นบ่อยครั้งในการสื่อสาร ซึ่งคำพูดดังกล่าวเป็นประโยคที่อาจคิดอยู่ในใจ หรือพูดออกมาดังๆ ให้คู่สนทนารับรู้ ใน EP นี้ จะอธิบายถึง...
“ได้ยิน” กับ “ได้ฟัง” คำสองคำนี้ เหมือนจะเหมือนกัน ตรงที่หูได้รับการกระตุ้นจากเสียงภายนอกเพียงแต่ หลังจากเสียงที่ผ่านแล้วมาแล้ว เรามีสมาธิ มีใจจดจ่อกับเสียงมากน้อยแค่ใดถ้าไม่ได้ตั้งใจที่จะฟัง เสียงนั้น...
การเรียนรู้การปฏิบัติตัวกับผู้สูงอายุ จะสร้างคุณค่าและสร้างบรรยากาศสุขให้เกิดขึ้นในครอบครัว การเรียนรู้ในการปรับตัวด้วยกัน เริ่มต้นได้ตั้งแต่เช้า ด้วยการสื่อสารสร้างสรรค์ พูดในสิ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่ายังมีคุณค่า ไม่ถูกคุกคาม ใน EP นี้...
ใน EP นี้ เหมาะสำหรับลูกหลาน ที่ต้องดูแลบุพการีหรือผู้สูงอายุในบ้าน หลายคร้้งที่ เกิดการทะเลาะกัน ไม่เข้าใจกัน จนเกิดอารมณ์ทางลบขึ้นมาทั้งคู่ ทั้งที่ไม่ต้องการให้เป็นเช่นนั้น ลองพิจารณา 6 คำถาม ต่อไปนี้ไปอย่างช้าๆ 3 คำถาม เพื่อเข้าใจตนเอง3 คำถามหลัง...
ในวันที่พ่อแม่ ผู้ที่เคยเป็นคนเลี้ยงดูลูกหลานวัยเด็ก เมื่อมาถึงวันนี้ วันที่ลูกหลานโตขึ้นสลับบทบาทมาเป็นคนดูแลพ่อแม่วผู้สูงอายุ หลายครั้ง คนทั้งสองวัย จะมีการทะเลาะเบาะแว้งกันจนกระทบความรู้สึกของกันและกัน กลายเป็นความรู้สึกผิด ความรู้สึกน้อยใจ...
เมื่อใกล้เปลี่ยนอายุ จากเลข 50 ปลายๆ ย่างก้าวสู่เลข 6 ที่เป็นตัวเลขเริ่มต้นของวัยสูงอายุ หลายคนเรืิ่มคิดถึงความเสื่อมต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เริ่มกังวล จนรู้สึกใจเสีย และเริ่มลดทอนคุณค่าในตนเอง สิ่งที่พึงกระทำมากกว่า คือ การออกจากกับดักความคิด...
อายุใดจะเริ่มเรียกว่า “ผู้สูงอายุ” นั้น ขึ้นกับแต่ละประเทศกำหนดเกณฑ์ เมื่อวัยผ่านไปจนมาถึงวัยสูงอายุ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทั้งด้านร่างกาย ที่เสื่อมลงเริ่มมีโรค เมื่อกายเปลี่ยน...