การฟังที่ดี จะเป็นประโยชน์กับทั้งตัวผู้ฟัง และคู่สนทนาไม่ใช่เพียงทำให้เข้าใจเรื่องราวที่คู่สนทนาพูดเท่านั้นยังมีประโยชน์อีกหลายอย่างที่ซ่อนอยู่จากการฟังเป็นประโยชน์ที่ซ่อนอยู่่คืออะไร
จะเริ่มตันเป็นผู้ฟังที่ดี ทำอย่างไร การฟัง มีทั้งศาสตร์และศิลป์ ยิ่งการฟังในระดับลึกซึ้งมากขึ้นคือ การฟังในสิ่งที่คู่สนทนาไม่ได้พูด แต่เราสามารถสะท้อนว่าเราเข้าใจเขาได้การฟัง เริ่มตั้งแต่การจัดสภาพแวดล้อม ในการฟัง ว่าเหมาะสมหรือไม่ การใช้ภาษากาย และ...
การฟัง ไม่ใช่เพียงแต่ใช้หู เท่านั้น การเป็นผู้ฟังที่ดี ต้องใช้ที้งหู ตา ใจ สมอง ท่าทาง ของเรา เพื่อให้พร้อมสำหรับการฟัง การฝึกตัวเองให้มีสมาธิในการฟัง ทำได้โดยการใช้โสตประสาททั้งห้า ใน EP นี้ จะเริ่มต้นด้วยการฝึกฟังเสียงพูดของตัวเอง...
Ep 65 ได้ชวนคิด ถึง 5 ปัญหาการฟังที่มักพบในการสื่อสาร ใน EP นี้ จะเป็นตอนที่ 2 เพื่อสะท้อนปัญหาการฟังแบบอื่นๆ ที่มักพบในการสื่อสาร เพื่อที่เราเองจะได้เตือนสติตนเอง ระหว่างที่กำลังสื่อสารกับผู้อื่นอยู่ เพื่อจะได้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้ฟังที่ดีต่อไป...
อัตราการพูดเปล่งเสียงออกมากับอัตราการคิดในสมองของเราต่อนาทีจะมีความแตกต่างกัน ในบางครั้งเราจะขัดใจตนเองว่า พูดได้ไม่เท่าที่คิด หรือ บางคนอาจจะคิดอยู่ แต่เรียบเรียงออกมาเป็นคำพูดไม่ได้ นอกจากนี้ อัตราการพูดที่ช้าหรือเร็วสามารถสะท้อนถึงความคิด...
“คุณไม่เคยฟังอะไรเลย” “ฉันนี่หรือที่ไม่ฟัง คุณนั่นแหละที่ไม่เคยฟังใคร” ประโยคคำพูดทำนองนี้ มักเกิดขึ้นบ่อยครั้งในการสื่อสาร ซึ่งคำพูดดังกล่าวเป็นประโยคที่อาจคิดอยู่ในใจ หรือพูดออกมาดังๆ ให้คู่สนทนารับรู้ ใน EP นี้ จะอธิบายถึง...
“ได้ยิน” กับ “ได้ฟัง” คำสองคำนี้ เหมือนจะเหมือนกัน ตรงที่หูได้รับการกระตุ้นจากเสียงภายนอกเพียงแต่ หลังจากเสียงที่ผ่านแล้วมาแล้ว เรามีสมาธิ มีใจจดจ่อกับเสียงมากน้อยแค่ใดถ้าไม่ได้ตั้งใจที่จะฟัง เสียงนั้น...
การเรียนรู้การปฏิบัติตัวกับผู้สูงอายุ จะสร้างคุณค่าและสร้างบรรยากาศสุขให้เกิดขึ้นในครอบครัว การเรียนรู้ในการปรับตัวด้วยกัน เริ่มต้นได้ตั้งแต่เช้า ด้วยการสื่อสารสร้างสรรค์ พูดในสิ่งที่ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่ายังมีคุณค่า ไม่ถูกคุกคาม ใน EP นี้...
ใน EP นี้ เหมาะสำหรับลูกหลาน ที่ต้องดูแลบุพการีหรือผู้สูงอายุในบ้าน หลายคร้้งที่ เกิดการทะเลาะกัน ไม่เข้าใจกัน จนเกิดอารมณ์ทางลบขึ้นมาทั้งคู่ ทั้งที่ไม่ต้องการให้เป็นเช่นนั้น ลองพิจารณา 6 คำถาม ต่อไปนี้ไปอย่างช้าๆ 3 คำถาม เพื่อเข้าใจตนเอง3 คำถามหลัง...
ในวันที่พ่อแม่ ผู้ที่เคยเป็นคนเลี้ยงดูลูกหลานวัยเด็ก เมื่อมาถึงวันนี้ วันที่ลูกหลานโตขึ้นสลับบทบาทมาเป็นคนดูแลพ่อแม่วผู้สูงอายุ หลายครั้ง คนทั้งสองวัย จะมีการทะเลาะเบาะแว้งกันจนกระทบความรู้สึกของกันและกัน กลายเป็นความรู้สึกผิด ความรู้สึกน้อยใจ...